บทความน่าสนใจ

Transnational practices and the analysis of the global system การปรากฏขึ้นของโลกาภิวัตน์ที่ดำเนินมาในระยะหนึ่ง มีงานเผยแพร่ทั้งในด้านทฤษฎีและงานวิจัย เปิดประเด็นสำคัญที่มีนัยยะทางสังคมศาสตร์เป็นอย่างมาก รวมทั้งผลงานที่ออกมาในเชิงปริมาณที่ใช้เวลาไม่มากนัก จากการสำรวจผลงานต่างๆพบว่า มีความเห็นที่เกี่ยวกับโลกาภิวัตน์ (Globalization) ที่แตกต่างกัน มีกลุ่มที่ยอมรับว่า โลกาภิวัตน์เป็นตัวแทนที่ท้าทายต่อรัฐ – ลัทธินิยมศูนย์กลางเป็นสมมติฐาน ซึ่งเป็นสาขาของสังคมศาสตร์ที่โดดเด่นที่สุดในระยะก่อนนี้ และต่อมาแนวทางนี้ได้พัฒนาการมาใช้ “ความเป็นกลาง (Natural)” เป็นกรอบที่สำคัญต่อแนวความคิดแบบ  “ รัฐ – ชาติ (Nation – State)” ที่เห็นว่า ในสถานการณ์โลกาภิวัตน์ จำเป็นต้องนำเอาข้อมูลข้ามเขตแดนของความเป็นชาติมารวมเข้าด้วยกัน ทั้งหมดนี้อยู่ภายใต้ข้อวิพากษ์ที่มีต่อความเป็นรัฐ – ความเป็นศูนย์กลางนิยม(State – Centrism)  อีกกลุ่มหนึ่งเป็นกลุ่มที่สงสัย (Sceptics) โดยตั้งประเด็นว่า โลกาภิวัตน์นั้นเป็นเพียงมายาคติ (the myth of globalization) โลกาภิวัตน์ เป็นเพียงคำตามกระแสนิยม ไม่มีอะไรที่เป็นเรื่องใหม่ เป็นแต่เพียงการล่าอาณานิคมของโลกแบบใหม่ (globaloney)   pdf_1387348829
Share this

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *