กรณีศึกษาในไทย

          การยกระดับการมีส่วนร่วมของภาคีในการป้องกันมลพิษที่อำเภอเฉลิมพระเกียรติ (หน้าพระลาน) ผู้ศึกษาเสนอให้ดำเนินงานตามกระบวนการของ Collective Impact : CI  ดังนี้ 1) ชุมชนในพื้นที่ที่ได้รับความเดือดร้อน 2) ผู้ประกอบการ 3) องค์การบริหารส่วนตำบล 4) ผู้บริหารของภาครัฐในท้องที่ ผู้ใหญ่บ้าน กำนัน และอำเภอ 4) จังหวัดสระบุรี 5) กระทรวงอุตสาหกรรม (โดยกรมโรงงานอุตสาหกรรม และอุตสาหกรรมจังหวัด) เพื่อรวมจุดยืนหรือกรอบความร่วมมือของแต่ละภาคส่วนที่จะสร้างเป็นเจตจำนงร่วมในการจัดการปัญหาฝุ่นให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน และพัฒนาให้มีผลกระทบต่ำกว่าเกณฑ์กำหนดตามมาตรฐานชี้วัด  
Share this

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *