แม่น้ำโขงเป็นหนึ่งในแม่น้ำที่มีความยาวอันดับต้นๆ ของโลก โดยมีความยาวประมาณ 4,909 กิโลเมตรโดยมีต้นน้ำอยู่ที่ประเทศจีน บริเวณมณฑลซิงไห่ และถือเป็นแหล่งน้ำที่มีความหลากหลายทางระบบนิเวศน์สูง มีประชากรอาศัยอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำโขงเป็นจำนวนมาก แม่น้ำโขงมีความสำคัญต่อวิถีชีวิตของประชากรบริเวณลุ่มแม่น้ำมาก ไม่ว่าจะเป็นการทำการประมงกว่า 2 ล้านตันต่อปี ไปจนถึงเกษตรกรรมที่ปลูกข้าวได้กว่า 32 ล้านตันต่อปี           อย่างไรก็ตามการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของจีน ทำให้จีนมีการวางแผนพัฒนาโครงการสร้างเขื่อนบริเวณแม่น้ำโขง เพื่อใช้ในการผลิตไฟฟ้า ซึ่งจีนตระหนักถึงความขาดแคลนน้ำมันในการผลิตไฟฟ้าในอนาคต ขณะที่ความต้องการมีมากขึ้น เช่นเดียวกับลาวที่ได้มีการเสนอแผนโครงการผลักดันการสร้างเขื่อนอย่างรวดเร็วในพื้นที่บริเวณแม่น้ำโขงตอนล่าง เป็นผลให้พื้นที่บริเวณดังกล่าวประสบกับปัญหาทรัพยากรลดลงอย่างรวดเร็วและส่งผลต่อวิถีชีวิตของชาวบ้าน   ที่มา:

เขื่อนแม่น้ำโขงตอนบนในจีนและผลกระทบข้ามพรมแดน.  (25 เมษายน2557). 

เมื่อแม่น้ำ (โขง) ถูกรุมกินโต๊ะ (1).  (25 เมษายน2557).

การสร้างเขื่อนในแม่น้ำโขง(1): วิถีชีวิตคนริมโขง.  (25 เมษายน2557). 

การสร้างเขื่อนในแม่น้ำโขง (2): มูลค่าทางเศรษฐกิจและการใช้ประโยชน์จากแม่น้ำโขง.  (25 เมษายน2557).

การสร้างเขื่อนในแม่น้ำโขง (3): โครงการเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำ เปลี่ยนแม่น้ำโขง ไม่เหมือนเดิมอีกแล้ว!.  (25 เมษายน2557). 

จดหมายเปิดผนึกพันธมิตรปกป้องแม่น้ำโขงถึงสี่นายกรัฐมนตรี – หยุดเขื่อนดอนสะโฮง.  (25 เมษายน2557).

เขื่อนในแม่น้ำโขงตอนล่าง.  (25 เมษายน2557).

4 ประเทศถกสร้าง “เขื่อนดอนสะโฮง” ในแม่น้ำโขง ไม่มีข้อสรุปว่าขบวนการต้อง “ปรึกษาหารือล่วงหน้า” หรือ “แจ้งให้ทราบ”.  (25 เมษายน2557).

แม่น้ำโขง: อิสระแห่งสายน้ำ.  (25 เมษายน2557).

  ————————— แปลและเรียบเรียงโดย ฝ่ายข้อมูลสนับสนุน บริษัท อิมเมจ พลัส คอมมิวนิเคชั่น จำกัด: 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 pdf_1400034988
Share this

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *